กล้องจุลทรรศน์ สำหรับเหล่านักเรียนนักศึกษาคำว่ากล้องจุลทรรศน์ นั้น นับว่าเป็นหนึ่งในสิ่งที่มีความคุ้นเคยกันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการทดลองแตกต่างภายในโรงเรียน ก็จะมีการทดลองตัวอย่างเชื้อโรค และสิ่งปฏิกูลรวมถึงเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ ให้นักเรียน-นักศึกษาได้ศึกษาในระดับหนึ่ง เกี่ยวกับขั้นตอน How to ใน การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งทุกท่านทราบหรือไม่ว่านี่ เป็นเพียงขั้นตอนแรก ก่อนที่จะก้าวสู่วงการการศึกษาทางด้าน จุลชีววิทยา
ซึ่งเป็นหนึ่งในการศึกษาสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ได้อย่างแน่นอน อีกทั้งอุปกรณ์ดังกล่าวนี้ นับว่าเป็นหนึ่งในเครื่องมือทางด้าน วิทยาศาสตร์ที่มีความสำคัญเป็นที่สุด สำหรับผู้ที่ต้องการจะศึกษาเรียนรู้ เกี่ยวกับการใช้งานที่ถูกต้อง ทั้งนี้ยังไม่พอเพราะถ้าคุณนั้น ยังเป็นผู้หนึ่งซึ่งจะก้าวสู่การวิจัย ในชิ้นงานที่มีความสำคัญระดับประเทศ หรือระดับโลกนั้นแล้วละก็ จุลทรรศน์ไม่ว่ารูปแบบใด ก็นับว่าเป็นหนึ่งในสะพาน ที่จะทำให้ทุกคนก้าวสู่ความสำเร็จ กับการค้นหาความลับที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ และไม่มีทางรู้เลย ถ้าเขาเหล่านั้นใช้กล้องจุลทรรศน์ ไม่เป็น
การแบ่งประเภทของ กล้องจุลทรรศน์ ไม่ว่าจะเป็นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงธรรมดาเรื่องราวที่หลายคนไม่มีโอกาสรู้
สำหรับผู้ที่ไม่ได้ก้าวเข้าสู่ วงการวิทยาศาสตร์อย่างเต็มตัว หรือมีการใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อใช้ในการศึกษา เพียงแค่ค้นคว้าวิจัยในระยะเวลาอันสั้นแล้วละก็ เรื่องราวเหล่านี้ อาจไม่จำเป็นต้องสนใจก็เป็นได้ แต่เราขอบอกให้ทุกท่านได้รู้จักกันเลยว่ากล้องจุลทรรศน์ นั้น มี 2 ชนิดได้แก่
1. กล้องจุลทรรศน์หรือแว่นขยายอย่างง่าย (Compound microscope or Magnifying glass) โดยสำหรับกล้องจุลทรรศน์ ในรูปแบบนี้นั้นเป็นเพียงการใช้เลนส์นูนเพียงอันเดียว ซึ่งเป็นตัวช่วยหลักในการทำให้วัตถุต่าง ๆ ให้ดูมีขนาดใหญ่ยิ่งขึ้น และจะได้ภาพเสมือนสายตาของคุณเอง ซึ่งมีการรับชมธาตุชนิด ดังกล่าวนั้นใกล้ชิดมากยิ่งขึ้นนั่นเอง
2. กล้องจุลทรรศน์เชิงซ้อน (Compound Light microscope) โดยในกล้องรูปแบบนี้ นับว่าเป็นหนึ่งในกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งมีเลนส์ที่ทำหน้าที่ในการทำการขยายภาพ 2 ชุดด้วยกัน นั่นก็คือเลนส์ใกล้วัตถุ และเลนส์ใกล้ตา โดยกล้องจุลทรรศน์เชิงซ้อน ในยุคนี้ที่มีการใช้งานทั่วไป มักจะมีการพบเห็นได้ส่วนใหญ่ อยู่ในส่วนของห้องเรียน
หรือของที่ใช้ทำการศึกษาในเชิงการเรียนรู้ ที่ไม่ลึกซึ้ง แต่ถ้าหากจะเป็นกล้องจุลทรรศน์เชิงซ้อน ที่ใช้งานทั่วไป ในห้องปฏิบัติการ ที่มีความต้องการความชัดเจนอย่างยิ่งยวดแล้วละก็ จะเป็นชนิด ( Light field microscope) โดยถ้าจะเป็นการกล่าว ถึงหลักการทำงานของกล้องจุลทรรศน์ ในรูปแบบนี้นั่น ก็คือเมื่อแสงไฟจากหลอดไฟ หรือทางด้านแหล่งกำเนิดแสง ถูกรวบรวมโดยไปตก ที่วัตถุที่วางอยู่บนแท่น จากนั้นเลนส์ใกล้วัตถุจะ เป็นตัวการขยาย วัตถุให้ได้ภาพขยาย ที่มีความใหญ่มากยิ่งขึ้น จากนั้นจะเป็นการส่งไปที่เลนส์ใกล้ตา เพื่อขยายภาพสุดท้ายที่ทุกท่านจะได้ชมอย่างชัดเจน
วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ ที่หลายคนต้องอยากรู้อย่างแน่นอน
สำหรับเรื่องราวของ การใช้กล้องจุลทรรศน์ แสดงว่ามีคนจำนวนไม่น้อย ที่เคยได้สัมผัสกล้องจุลทรรศน์ และอยากจะรู้ขั้นตอน ในการใช้งานของมันว่าจะมีขั้นตอนอย่างไร และจะสามารถสังเกตอย่างไร ว่านี่เป็นการเริ่มต้นใน การใช้กล้องจุลทรรศน์ที่ถูกวิธี หรือใกล้เคียงมากที่สุดแล้วจริงไหม เอาล่ะเราจะขอนำเสนอ ได้เลยกับข้อมูลเชิงลึก ที่ทุกคนต้องอยากรู้เป็นแน่
ขอขอบคุณรูปภาพจาก LAZADA https://bit.ly/3yxj1Ry
- การขยับกล้อง หรือเคลื่อนย้ายกล้องนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้มือหนึ่ง จากที่แขน และอีกมือหนึ่งรองที่ฐานของกล้อง จะเป็นขั้นตอนการยก และเคลื่อนย้ายให้ถูกวิธีอย่างถูกต้องที่สุด
- ทำการเปิดไฟ เพื่อให้แสงเข้าลำกล้องได้อย่างเต็มที่
- ทำการเริ่มต้นหมุนเลนส์ ใกล้วัตถุให้เลนส์ที่มีกำลังขยายต่ำสุดนั้น อยู่ในแนวแบ่งแนวของลำกล้อง
- เริ่มต้นนำสไลด์ ที่จะใช้ในการศึกษามาวางบนแท่น วางวัตถุ โดยทำการปรับให้อยู่บริเวณ ตรงกลางที่แสงผ่าน
- เริ่มต้นทำการค่อย ๆ หมุนปรับภาพขยายภาพ อยากให้กล้องเลื่อนขึ้นช้า ๆ เพื่อเข้าหาระยะภาพ แต่แน่นอนว่าจำเป็นจะต้องระวัง ไม่ให้เลนส์ใกล้วัตถุตกกระทบกับสไลด์ตัวอย่าง เพราะว่าจะทำให้เลนส์ไม่ได้ ระดับภาพนั่นเอง
- เริ่มต้นในการปรับภาพ ให้มีความชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับ ภาพรายละเอียด โดยถ้าวัตถุที่ทำการศึกษา นั้นมาอยู่ตรงกลางก็ขอให้เลื่อนสไลด์ ให้มาอยู่ตรงกลาง
- โดยถ้าหากมีการต้องการให้ภาพมันขยายใหญ่ มากยิ่งขึ้น ก็ขอให้ทำการหมุนเลนส์ใกล้วัตถุ ที่มีกำลังขยายสูงกว่าเดิม ให้มาอยู่ในตำแหน่งแนวของลำกล้อง จากนั้นทำการปรับภาพให้ชัดเจน ขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น โดยมีข้อแม้ว่าห้ามปรับภาพ ด้วยปุ่มปรับภาพหยาบอย่างเด็ดขาด เพราะอาจจะทำให้ระยะของภาพ หรือในแนวจุดโฟกัส ของภาพอาจมีความเปลี่ยนไป
- บันทึกกำลังขยาย โดยหาได้จากผลคูณของทางด้านกำลังขยาย ของเลนส์ใกล้วัตถุกับกำลังขยาย ของเลนส์ใกล้ตา
บทสรุป กล้องจุลทรรศน์ อุปกรณ์อันทรงคุณค่าที่หลายคนไม่ควรมองข้าม
สำหรับกล้องที่มีประโยชน์อนันต์ และมีความหมายต่อวงการแพทย์ ตลอดจนนักวิจัยต่าง ๆ ที่ใช้กันอยู่เป็นประจำอย่างกล้องจุลทรรศน์ นั้น ต้องขอบอกเลยว่าเป็นหนึ่ง ในสิ่งที่มีความจำเป็น และมีการใช้งานกันอย่างต่อเนื่อง เป็นประจำ ซึ่งถ้าหากคุณได้มีโอกาส ที่จะได้สัมผัสกับอุปกรณ์ของจริงแล้วละก็ ขอบอกก่อนเลยว่า ควรจะต้องมีความชำนาญ และมีความทะนุถนอมเป็นอันดับแรก ๆ เสียก่อนค่อยเรียนรู้ขั้นตอนต่อไป โดยผู้เชี่ยวชาญ จะเป็นการดีที่สุด
Credit by : ไฮโลไทย